• icon169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131
  • iconbbs@buu.ac.th

  • icon
  • icon
  • icon
  • icon
  • icon

วันและเวลาทำการ: จันทร์ - ศุกร์ - 08.00 / 16.30 น.

icon

เบอร์โทรติดต่อ

+66 3810 2397

ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์

Teachers
ผศ.ดร.ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์
อาจารย์



ห้องทำงาน:BBS 932
โทรศัพท์: 038-102397 ext 7680
อีเมล์: thitimar@go.buu.ac.th

ประวัติการศึกษา

2562 ปริญญาเอก Ph.D. (Hospitality and Tourism Management) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
2547 ปริญญาโท M.A. (Tourism Management) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
2542 ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยบูรพา

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ลักษณะและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

สาขาที่เชี่ยวชาญ

การจัดการการท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, การท่องเที่ยวเชิงเกษตร, การท่องเที่ยวเชิงอาหาร, การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ

2562

วารสารวิชาการ
ระดับชาติ
Angkanurakbun, C. & Pruksorranan, N. (2019). Tourism Destination Image Evaluation by Photo Elicitation: A Case Study of a Crude Oil Leakage Crisis on Samed Island, Rayong, Thailand. Dusit Thani College Journal, 13(1), 27-40.

ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์, จุฑามาศ วิศาลสิงห์ และสมยศ แก่นหิน. (2563). การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยวเชิงศิลปะอาหารในการท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์. สยามวิชาการ, 21(1).

2561

วารสารวิชาการ
ระดับชาติ
Pruksorranan, N. & Batra, A. (2018). Coconut-based Low-carbon Culinary Tourism on Samui Island, Thailand. Dusit Thani College Journal, 12, 231-247.

2560

วารสารวิชาการ
ระดับชาติ
ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์, จุฑามาศ วิศาลสิงห์ และฐานกาญจน์ วงศ์วิศิษฎ์ศิลป์. (2560). แนวทางการสอดประสานวิถีไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ห่วงโซ่อาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าและมูลค่าการท่องเที่ยว. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 10(2), 169-182.

2556

รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
ระดับนานาชาติ
Pruksorranan, T., Wisansing, J. & Berno, T. (2013). The Culinary Tourism Supply Chain and the Reduction of Carbon Footprint: a Case Study of Koh Samui, Thailand. In: Fountain, Joanna (Editor); Moore, Kevin (Editor). CAUTHE 2013: Tourism and Global Change: On the Edge of Something Big. Christchurch, N.Z.: Lincoln University, 2013.


งานวิจัย

1.จุฑามาศ วิศาลสิงห์, ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์, และสมยศ แก่นหิน. (2561). การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยวเชิงศิลปะอาหารในการท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

2.วุฒิชาติ สุนทรสมัย และคณะ. (2560). ความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนากลยุทธ์การตลาด เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ด้านสปา และนวดแผนไทย เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวจีน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

3.ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์ และ ชวนา อังคนุรักษ์พันธุ์. (2560). การประเมินภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวโดยใช้ภาพถ่าย กรณีศึกษาเหตุการณ์วิกฤตท่อน้ำมันดิบรั่วบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

4.จุฑามาศ วิศาลสิงห์, ณัฎฐกานต์ พฤกษ์สรนันทน์, และภารดี ยโสธรศรีกุล. (2559). แนวทางการสอดประสานวิถีไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ห่วงโซ่อาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าและมูลค่าการท่องเที่ยว. กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

5.สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ. (2557). มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพสาขาอาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม และภัตตาคาร. กรุงเทพ: สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

6.วุฒิชาติ สุนทรสมัย และคณะ. (2552). การศึกษาความพร้อมของเมืองในด้านธุรกิจการจัดประชุม หรือไมซ์ (MICE) พื้นที่จังหวัดชลบุรี. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

7.วุฒิชาติ สุนทรสมัย และคณะ. (2550). การถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพความเข้มแข็ง และความยั่งยืนของการท่องเที่ยวชุมชนและการประกอบธุรกิจด้านการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ กรณีศึกษาตำบลเกาะช้างใต้ จังหวัดตราด. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

8.วุฒิชาติ สุนทรสมัย และคณะ. (2550). การวิจัยเรื่อง การถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพความเข้มแข็ง และความยั่งยืนของการท่องเที่ยวชุมชนและการประกอบธุรกิจด้านการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ กรณีศึกษาตำบลตะพง และชุมชนแหลมรุ่งเรือง จังหวัดระยอง. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.